วันศุกร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 16

วันพฤหัสบดีที่ 8 มีนาคม 2554 

- นำเสนองานภาพปริศนาคำทาย (ต๊อกแต๊ก คือ อะไร )
 
บัตรคำตัวอักษร (ม)


หนังสือภาพ  (เธอชอบดื่่มน้ำอะไร)


วันพฤหัสบดีที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 15

วันพฤหัสบดีที่ 1 มีนาคม 2554
- อาจารย์ให้ร้องเพลงร้องเพลง ก-ฮ 
 
- นำเสนองานของแต่ละกลุ่ม 
 

- อาจารย์ให้จัดกลุ่มเพื่อทำบัตรคำ  กลุ่มของดิฉันได้ตัวอักษร (ม) 
 

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 14

วันพฤหัสบดีที่ 23 กุมภาพันธ์ 2554
 - อาจารย์ให้ดูตัวอย่างสมุดนิทาน 
 




 













 

วันอาทิตย์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 13

วันเสาร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ 2555
(เรียนชดเชย)
- อาจารย์แจกกระดาษแล้วให้วาดรูปอะไรก็ได้
ลักษณะของภาษา
   เนื้อหาของภาษา ได้แก่ หัวข้อของภาษา เรื่องของความหมายที่
จะใช้สื่อกับผู้อื่นประกอบด้วย คน สัตว์ สิ่งของ เหตูการณ์ ความสัมพันธ์
รูปแบบของภาษา เสียง สระพยัญชนะ วรรณยุกต์ คำที่มีความหมาย และ ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ เสียงที่เปล่งออกมาเป็นหน่วย ลำดับคำ หรือ ประโยค 
- ร้องเพลง ก-ฮ 
 
พยัญชนะมีทั้งหมด 44 ตัว มี 28 เสียง
 - เสียงสูงมี 11 ตัว  ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ส ษ ศ 
 -อักษรกลาง มี 9 ตัว ก จ ด ต บ ป อ ฎ ฏ
 -อักษรต่ำ มี 24 ตัว แบ่งเป็น
 - อักษรต่ำคู่ มี 14 ตัว คือ ค ฅ ฆ ช ซ ฌ ฑ ฒ ท ธ พ ฟ ภ ฮ
 - อักษรต่ำเดี่ยว มี 10 ตัว คือ ง ญ น ย ณ ร ว ม ฬ ล 
-ทำภาพแทนคำ 


วันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 11

วันพฤหัสบดีที่ 9 กุมภาพันธ์ 2554
ม่มีการเรียนการสอน  เนื่องจากอาจารย์ไปอบรม
หมายเหตุ   ชดเชยการเรียนการสอนโดยการทำงานหนังสือภาพ และภาพปริศนาคำทาย

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 12

วันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ 2554

- การทำหนังสือภาพ

            - เลือกความคิดรวบยอดที่ต้องการให้เด็กมีประสบการณ์
- learning stay วิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน

 การสร้างภาพปริศนาทำนาย



การทำสมุดภาพ


1.เลือกและกำหนดสิ่งที่ต้องการให้เด็กทาย
2.วิเคราะห์ลักษณะของสิ่งที่กำหนด ให้หลากหลายมากทีสุด
3.เรียงลำดับลักษณะของสื่งที่กำหนดนั้นโดย เริ่มจากลักษณะที่ของหลายๆสิ่งก็มีลักษณะเช่นนั้น
4.นำมาจัดเรียงลำดับ
5.แต่งประโยคที่มีคำซ้ำ

 วิธีการเรียนการสอนที่มันหลากหลาย >> การพูด >> การปฎิบัติ
learningstyle = วธีการเรียนของผู้เรียน
- การสัมภารณ์เด็ก  การวางแผนในการดำเนินงาน
- อาจารย์ แนะนำในเรื่อง  ยึดผู้เรียนเป็นผู้สำคัญ
- ร่วมกันวิเคราะห์การทำงาน
* การทำหนังสือภาพ * 
- เลือกความคิดรวบยอดที่ต้องการให้เด็กมีประสบการณ์ >> ทักษะ >> การคิด
- ที่เกิดขึ้น >> ภาษา >> การอ่านภาพ >> การอธิบาย >> หน้าที่ของภาษา ทำหน้าที่ " สื่อสาร " กับเด็ก
- โดยตัวภาษา ถือว่าเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร  ภาษาช่วนให้เด็กเกิดการคิดรวบยอด
- คิดรวบยอด >> สรุปเป็นองค์รวม
- ยกตัวอย่าง ประโยคคำถาม เช่น อะไร  เป็น  เครื่องใช้  ไฟฟ้า  
- อะไร  >>  คือตัวแปรผันเปลี่ยน




บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 10

วันพฤหัสบดีที่ 2 กุมภาพันธ์ 2554

- ดู E-BOOK เรื่อง แม่ไก่แดง  ควรมีการปรับปรุง ดังนี้
1.ตัวหนังสือต้องอ่านง่าย
2.ภาพต้องสัมพันธ์กับเนื้อหา
3.ภาพต้องสมจริงมากที่สุด
4.เสียงที่พูดกับตัวหนังสือไม่สอดคล้องกัน
- ความแตกต่างระหว่างการเล่านิทานโดยมีครูเล่ากับการเล่านิทานกับE-BOOK
1.การเล่านิทาน E-BOOK
    - เด็กจะฟังนิทานตอนไหนก็สามารถเปิดดูได้เลย
    - เป็นการสื่อสารทางเดียว
    - ปิดโอกาสในการแสดงความคิดของเด็ก
    - ไม่ได้สังเกตพฤติกรรมเด็กขณะเด็กดูนิทาน
2.การเล่านิทานโดยครูเล่าเอง
    - เป็นการสื่อสาร 2 ทาง
    - สามารถเปิดโอกาสให้เด็กได้พูดได้คิด
    - ถ้าครูไม่มีเวลาเล่า เด็กก็ไม่ได้ฟังนิทาน
-อาจารย์นำเนื้อเพลงมาให้นักศึกษาร้องและประกอบท่าทาง
     1. เพลง DOWN AND UP
Down and up and we walk walk     Down and up and we walk walk  
We walk to the left                           We walk to the right
We turn around                                And we walk walk          
   

   2. เพลง หู ตา จมูก
หู ตา จมูก จับให้ถูก        จับจมูก ตา
จับใหม่จับให้ฉันดู           จับใหม่จับให้ฉันดู                      
จมูก ตา หู                       จับ หู ตา จมูก    
   
   3. เพลง แปรงฟัน
แปรงซิแปรงแปรงฟัน       ฟันหนูสวยสะอาดดี              
แปรงขึ้นแปรงลงทุกซี่      สะอาดดีเมื่อหนูแปรงฟัน   

   4. เพลง สวัสดี               
สวัสดี สวัสดี                       ยินดีที่พบกัน
เธอกับฉัน                           พบกันสวัสดี

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 9

วันพฤหัสบดีที่ 26 มกราคม 2554

 - ดู Powerpoint เรื่อง การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย- ภาษาประกอบด้วย ฟัง พูด อ่าน เขียน

ภาษา = เป็นเครื่องมือในการสื่อสารกัน
ปัจจัยที่ทำให้เกิดความแตกกันนั้นก็คือ สังคม สิ่งแวดล้อมรอบข้าง และ การอบรมเลี้ยงดูในครอบครัว
- นอกจากการพูด การเขียนที่จะเป็นภาษาแล้ว  ภาษากายก็สามารถเป็นภาษาได้เหมือนกัน  นั้นก็คือ การเเสดงออก ทางสีหน้า หรือท่าทางก็ถือว่าเป็นภาษาได้เหมือนกัน
การสอนภาษาไม่จำเป็นที่จะต้องสอนอยู่แต่ในห้อง  เราสามารถสอนเด็กนอกสถานที่ได้ ซึ่งสื่อการสอนนั้นก็คือ สิ่งภาพแวดล้อมที่อยู่รอบๆตัวเรา
บลูม  ให้ความหมายเกี่ยวกับภาษา ไว้ 3 ประการ  คือ
     1. ภาษาเป็นสัญลักษณ์หรือรหัส      เช่น   คำว่า  "พ่อ"  เป็นตัวหนังสือ
     2. ภาษาเป็นมโนทัศน์เกี่ยวกับโลก   เช่น    คำว่า  "รัก"  เป็นการแสดงออกถึงอารมณ์ความรู้สึก
     3. ภาษาเป็นระบบมีกฏเกณฑ์           เช่น  มีประธาน  กริยา  กรรม    มีการโน้มน้าวด้วยไวยกรณ์
การบ้าน
จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย  คนละ 1 กิจกรรม


บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 8

วันพฤหัสบดีที่ 22 มกราคม 2554 (เรียนชดเชย)
 -นำเสนอ วิดีโอ 1 กลุ่ม
- อาจารย์เปิด วิดีโอ เกี่ยวกับภาษา การเล่านิทาน ทางโทรทัศน์ครู
- ภาษา+คณิตศาสตร์ = เครื่องมือในการเรียนรู้
- เป็นครูอนุบาลต้องพูดให้ชัด
- นิทาน คือ เรื่องราวที่ให้ความสนุกสนาน
- การเคลื่อนไหวที่เกี่ยวกับนิทาน คือ การทำท่าทางประกอบเรื่องราว
- การแต่งเรื่องราวของนิทาน จะต้องส่งเสริมพัฒนาการของเด็กให้ครบทั้ง 4 ด้าน
- การสังเกต ทำให้รู้ได้ว่าเด็กชอบหรือไม่ชอบ
- ควรใหเด็กได้ มีการสังเกต ออกแบบ
- ให้เด็กได้มีโอกาศ แสดงละคร ได้มีส่วนร่วม
- ดนตรี เกี่ยวข้องกับภาษา คือ ให้แยกแยะ
- การสอนภาษาแบบธรรมชาติ คือ การจัดกิจกรรมที่เด็กให้ความสนใจ
- การดูนิทาน คือ การอ่าน อ่านจากภาพ
- การให้วรรณกรรม เป็นฐานของภาษา

- ดู VDO เรื่องการจัดประสบการณ์ทางภาษาเกี่ยวกับเด็กปฐมวัย  โดยใช้วรรณกรรมเป็นฐาน
   โดย ดร.นฤมล  เนียมหอม   http://www.thaiteachers.tv/vdo2.php?id=519
นำเสนอ วิดีโอ 
น้องกิจ ชั้นอนุบาล โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
   1.ขณะถามน้องจะแกว่งชิงช้าไปด้วย
   2.ถ้าไม่ถามก็ไม่ตอบ
   3.ถามคำตอบคำ
   4.ต้องพูดเป็นแนวให้ น้องถึงจะพูด


บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 7

วันพฤหัสบดีที่ 19 มกราคม 2554

**ไม่มีการเรียนการสอน** 

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 6

วันพฤหัสบดีที่ 12 มกราคม 2554

**ไม่มีการเรียนการสอน** 

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 5

วันพฤหัสบดีที่ 5 มกราคม 2554

**ไม่มีการเรียนการสอน** 

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 4

วันพฤหัสบดีที่ 29 ธันวาคม 2554
   อาจารย์ให้เขียนภาษาท้องถิ่นของตนเอง ส่วนคนไหนที่ไม่มีภาษาถิ่นก็ให้เขียน สถานที่
ภาษาใต้

      เกือก - รองเท้า

      ยาหนัด - สับปะรด
      บายใจ - สบายใจ
      โคม - กะละมัง
       ว่าพรือ - ว่าไง
       แล - มองดู
       หม้าย - ไม่มี
       เม็ด - หมด
       โบก - ตบ
       ถ้า - รอคอย
       ร่ำ - ร้องไห้
      แรกวา - เมื่อวาน
      หวาง - โล่ง
      หัวบอน - เผือก
      แขบ - รีบ
      หรอย - อร่อย




    

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 3

วันพฤหัสบดีที่ 22 ธันวาคม 2554

-นำเสนอวิดิโอของตนเองที่ไปสัมภาษณ์เด็ก

-ดูวิดิโอของเพื่อนๆ อีกหลายกลุ่ม

-อาจารย์ให้ข้อเสนอแนะ และข้อควรปรับปรุง

น้องเอบิ  อนุบาล1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

วันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 2


วันพฤหัสบดีที่ 15 ธันวาคม 2554


     ประสบการณ์ คือ ความรู้และประสบการณ์ หมายถึง ความรู้ ความสามารถ ทักษะและเจตคติ ที่เกิดจาก

การประกอบอาชีพ จากประสบการณ์ การทำงานที่สะท้อนถึงกระบวนการทำงานและการพัฒนาอาชีพ

การฝึกอาชีพ การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากการดำรงชีวิตและศึกษาเรียนรู้จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ
      พัฒนาการ คือ การเปลี่ยนแปลงที่แน่นอนตามลำดับขั้น (วัย) ของบุคคล ตั้งแต่เกิดจนตาย การเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้บุคคลมีพฤติกรรมที่เป็นระบบระเบียบมากขึ้น  สลับซับซ้อนยิ่งขึ้น ปรับตัวได้มากยิ่งขึ้น และมีประสิทธิภาพมากขึ้น พัฒนาการของมนุษย์ประกอบด้วยด้านต่าง ๆ 
วิธีการเรียนรู้-อิสระ

-เลือกได้

-เทคนิค

-รูปแบบ

-วิธีการ

-ลองผิดลองถูก

   การจัดประสบการณ์-สาระ

-ประโยค

-อุปกรณ์

-ประเมิน
-หลักการจัด
-พัฒนาการของเด็ก
-เขียนแผน

การบ้าน
 จับคู่ 2คน ตั้งคำถามถามเด็ก ชื่อ ชื่อเล่น อายุ โรงเรียน  แล้วถ่ายวีดีโอ นำมาเสนอหน้าชั้นเรียน




    

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1

วันพฤหัสบดีที่ 8 ธันวาคม 2554


**ไม่มีการเรียนการสอน  เนื่องจากอาจารย์ติดประชุม**